จังหวัดระนอง
ในปีพ.ศ. 2397 เมืองพม่าตกเป็นเมืองขึ้นของอังกฤษและอังกฤษได้จัดการปกครองหัวเมืองที่ได้ไปจากพม่าอย่างเข้มงวดกรวดขัน เข้ามาชิดชายพระราชอาณาเขตทางทะเลตะวันตก ในเวลาต่อมาพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำริว่า ถ้าให้เมืองระนองและเมืองตระ ขึ้นอยู่กับเมืองชุมพร จะเป็นการลำบากในการปกครองจึงโปรดให้ยกเมืองตระไปขึ้นกับเมืองระนองในคราวเดียวกัน และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เลื่อนพระรัตนเศรษฐีขึ้นเป็นพระยารัตนเศรษฐีเป็นผู้ว่าราชการจังหวัดระนอง เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม 2405 ระนองมีฐานะเป็นหัวเมืองอิสระ ซึ่งเรียกว่าจังหวัดระนองในเวลาต่อมาจนถึงปัจจุบัน นับได้ 150 ปี
จังหวัดระนอง เป็นจังหวัดชายฝั่งทะเลตะวันตกของภาคใต้มีพื้นที่ประมาณ 2,141,250ไร่ มีพื้นที่ติดต่อทางตะวันออกติดต่อกับจังหวัดชุมพรทางใต้ติดกับกิโลเมตร และมีความแคบในบริเวณอำเภอกระบุรี เพียง 9 กิโลเมตร
สภาพภูมิประเทศของระนอง ประกอบด้วยภูเขาสูงในทางทิศตะวันออก และลาดลงสู่ทะเลอันดามันในทางทิศตะวันตก มีแม่น้ำและคลองสำคัญหลายสาย และมีภูเขาสูงสุดคือ ภูเขาพ่อตาโชงโดง
แม่น้ำลำคลองที่สำคัญมีดังนี้
- ภูมิอากาศ
- จังหวัดระนองได้ชื่อว่าเป็นเมือง "ฝนแปด แดดสี่" นั่นคือมีฝนตก 8 เดือน และฝนแล้งเพียง 4 เดือน นับว่าเป็นจังหวัดที่ฝนตกชุกมากที่สุดในประเทศไทย เนื่องจากอยู่ติดกับทะเลอันดามัน ได้รับอิทธิพลจาก ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ อย่างมาก
จังหวัดระนอง เป็นจังหวัดชายฝั่งทะเลตะวันตกของภาคใต้ มีพื้นที่ประมาณ 2,141,250 ไร่ มีพื้นที่ติดต่อทางตะวันออกติดต่อกับกิโลเมตร และมีความแคบในบริเวณอำเภอกระบุรี เพียง 9 กิโลเมตร
ระนองเป็นอีกจังหวัดหนึ่ง ที่มีประวัติความเป็นมายาวนานนับตั้งแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา เรืองอำนาจ เดิมเป็นหัวเมืองขนาดเล็ก เป็นเมืองขึ้นของเมืองชุมพร คำว่าระนอง เพี้ยนมาจากคำว่า แร่นอง เนื่องจากจังหวัดระนอง มีแร่อยู่มากมาย
ภูมิประเทศ
สภาพภูมิประเทศของระนอง ประกอบด้วยภูเขาสูงในทางทิศตะวันออก และลาดลงสู่ทะเลอันดามันในทางทิศตะวันตก มีแม่น้ำและคลองสำคัญหลายสาย และมีภูเขาสูงสุดคือ ภูเขาพ่อตาโชงโดง
แม่น้ำลำคลองที่สำคัญมีดังนี้
|